อาจารย์ที่ปรึกษา : 张迎春老师
ชื่อสารนิพนธ์ภาษาจีน : 中泰常用介词对比研究
ชื่อสารนิพนธ์ภาษาไทย : การเปรียบเทียบคำบุพบทไทยจีนที่ใช้บ่อย
ชื่อสารนิพนธ์ภาษาอังกฤษ : A Comparative Study On The Preposition Of Chinese and Thai. proverb-saying
。。。。。。
บทคัดย่อ
หัวข้อ: การเปรียบเทียบคำบุพบทไทยจีนที่ใช้บ่อย
คำสำคัญ: จีนไทย คำบุพบท
การวิเคราะห์เปรียบเทียบ ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ เปรียบเทียบภาษา
สารนิพนธ์เล่มนี้ศึกษาวิจัยอยู่บนพื้นฐานของการศึกษาบทความและการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยเลือกใช้หลักและวิธีการเปรียบเทียบทางภาษาศาสตร์ที่ทำการศึกษาโดยการวิเคราะห์คำบุพบทและบุพบทวลีที่ใช้บ่อยในภาษาจีนและไทย
25 คำ และนำมาวิเคราะห์ถึงความเหมือนและความต่างของทั้งสองภาษา ซึ่งผู้ศึกษาจะวิเคราะห์ถึงสาเหตุของความแตกต่างและความเหมือนนั้น
ในระบบทางไวยากรณ์ของคำบุพบทไทยจีนแต่ละคำนั้น
บางคำเป็นคำที่ไม่มีความหมายในตัวเอง ซึ่งในหลักของวิธีการสร้างประโยคของทั้งสองภาษาจะแสดงถึงคุณสมบัติทางไวยากรณ์ร่วมกันของประเภทของคำ
ซึ่งสามารถแยกประเภทได้ทั้งหมด 6 ประเภทใหญ่ๆ กล่าวคือ แสดงถึงเวลา ทิศทาง แสดงถึงการอ้างอิง แสดงถึงคู่กรณี
สาเหตุ เป้าหมายและการเปรียบเทียบ
ผลที่ได้รับจากงานวิจัยพบว่า
คำบุพบททั้งสองภาษาที่ต่างกันมากที่สุด คือตำแหน่งทางโครงสร้างในประโยค ซึ่งคำบุพบทจีนเมื่อทำหน้าที่ร่วมกับกรรมแล้วเรียกว่า
บุพบทวลี โดยทั่วไปจะวางไว้ที่หน้าภาคแสดงหรือกริยาซึ่งทำหน้าที่เป็นภาคขยายกริยา แต่ในภาษาไทยจะตรงกันข้าม
โดยทั่วไปวางไว้ท้ายภาคแสดง ทำหน้าที่เป็นส่วนเสริม
สารนิพนธ์เล่มนี้ สามารถนำไปใช้เพื่อช่วยไขความกระจ่าง
สร้างความชัดเจนให้กับผู้เรียนภาษาจีนที่กำลังประสบปัญหาการใช้คำบุพบทจีน
ทั้งในด้านของไวยากรณ์และหลักทางความหมายของคำ
ซึ่งสามารถนำความรู้ความเข้าใจที่ได้นี้ไปพัฒนาความรู้ความสามารถในการเรียนภาษาจีนกลางของตนเองให้มีประสิทธิภาพต่อไป
摘要
题目:
中泰常用介词对比研究
关键词:
中泰 介词 对比分析
对比语言学 语言对比
本文是在语料收集和资料文献研究的基础上,采用对比语言学的理论及方法,对中泰25个常用介词及介词短语进行描写分析,阐述二者的异同,探析其原因。
中泰介词在各自的语法词类系统中是虚词的一个重要类别,缺少词汇意义。在句法功能上,表现出介引和标记的共同的语法功能。在类别上,都分为六大类:表示时间、方向,表示方式、依据,表示对象,表示原因、目的,表示比较。
中泰介词最大的不同是在句子中的位置,中文的介词与其介引的成分组成的介词短语,一般要放在谓语动词前,作状语;泰语则相反,一般要放在谓语动词后,作补语。
中泰介词相同之处的成因主要是二者的同源关系,差异的原因主要在于两种语言都跟其他语言接触,受到了其他语言的影响。
希望本文的研究成果能为泰国的中文学习者提供借鉴,并为对外汉语介词教学提供帮助。
หัวข้อ: การเปรียบเทียบคำบุพบทไทยจีนที่ใช้บ่อย
คำสำคัญ: จีนไทย คำบุพบท
การวิเคราะห์เปรียบเทียบ ภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ เปรียบเทียบภาษา
สารนิพนธ์เล่มนี้ศึกษาวิจัยอยู่บนพื้นฐานของการศึกษาบทความและการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยเลือกใช้หลักและวิธีการเปรียบเทียบทางภาษาศาสตร์ที่ทำการศึกษาโดยการวิเคราะห์คำบุพบทและบุพบทวลีที่ใช้บ่อยในภาษาจีนและไทย
25 คำ และนำมาวิเคราะห์ถึงความเหมือนและความต่างของทั้งสองภาษา ซึ่งผู้ศึกษาจะวิเคราะห์ถึงสาเหตุของความแตกต่างและความเหมือนนั้น
ในระบบทางไวยากรณ์ของคำบุพบทไทยจีนแต่ละคำนั้น
บางคำเป็นคำที่ไม่มีความหมายในตัวเอง ซึ่งในหลักของวิธีการสร้างประโยคของทั้งสองภาษาจะแสดงถึงคุณสมบัติทางไวยากรณ์ร่วมกันของประเภทของคำ
ซึ่งสามารถแยกประเภทได้ทั้งหมด 6 ประเภทใหญ่ๆ กล่าวคือ แสดงถึงเวลา ทิศทาง แสดงถึงการอ้างอิง แสดงถึงคู่กรณี
สาเหตุ เป้าหมายและการเปรียบเทียบ
ผลที่ได้รับจากงานวิจัยพบว่า
คำบุพบททั้งสองภาษาที่ต่างกันมากที่สุด คือตำแหน่งทางโครงสร้างในประโยค ซึ่งคำบุพบทจีนเมื่อทำหน้าที่ร่วมกับกรรมแล้วเรียกว่า
บุพบทวลี โดยทั่วไปจะวางไว้ที่หน้าภาคแสดงหรือกริยาซึ่งทำหน้าที่เป็นภาคขยายกริยา แต่ในภาษาไทยจะตรงกันข้าม
โดยทั่วไปวางไว้ท้ายภาคแสดง ทำหน้าที่เป็นส่วนเสริม
สารนิพนธ์เล่มนี้ สามารถนำไปใช้เพื่อช่วยไขความกระจ่าง
สร้างความชัดเจนให้กับผู้เรียนภาษาจีนที่กำลังประสบปัญหาการใช้คำบุพบทจีน
ทั้งในด้านของไวยากรณ์และหลักทางความหมายของคำ
ซึ่งสามารถนำความรู้ความเข้าใจที่ได้นี้ไปพัฒนาความรู้ความสามารถในการเรียนภาษาจีนกลางของตนเองให้มีประสิทธิภาพต่อไป
สารนิพนธ์เล่มนี้ศึกษาวิจัยอยู่บนพื้นฐานของการศึกษาบทความและการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยเลือกใช้หลักและวิธีการเปรียบเทียบทางภาษาศาสตร์ที่ทำการศึกษาโดยการวิเคราะห์คำบุพบทและบุพบทวลีที่ใช้บ่อยในภาษาจีนและไทย
25 คำ และนำมาวิเคราะห์ถึงความเหมือนและความต่างของทั้งสองภาษา ซึ่งผู้ศึกษาจะวิเคราะห์ถึงสาเหตุของความแตกต่างและความเหมือนนั้น
ในระบบทางไวยากรณ์ของคำบุพบทไทยจีนแต่ละคำนั้น
บางคำเป็นคำที่ไม่มีความหมายในตัวเอง ซึ่งในหลักของวิธีการสร้างประโยคของทั้งสองภาษาจะแสดงถึงคุณสมบัติทางไวยากรณ์ร่วมกันของประเภทของคำ
ซึ่งสามารถแยกประเภทได้ทั้งหมด 6 ประเภทใหญ่ๆ กล่าวคือ แสดงถึงเวลา ทิศทาง แสดงถึงการอ้างอิง แสดงถึงคู่กรณี
สาเหตุ เป้าหมายและการเปรียบเทียบ
摘要
题目:
中泰常用介词对比研究
关键词:
中泰 介词 对比分析
对比语言学 语言对比
本文是在语料收集和资料文献研究的基础上,采用对比语言学的理论及方法,对中泰25个常用介词及介词短语进行描写分析,阐述二者的异同,探析其原因。
中泰介词在各自的语法词类系统中是虚词的一个重要类别,缺少词汇意义。在句法功能上,表现出介引和标记的共同的语法功能。在类别上,都分为六大类:表示时间、方向,表示方式、依据,表示对象,表示原因、目的,表示比较。
中泰介词最大的不同是在句子中的位置,中文的介词与其介引的成分组成的介词短语,一般要放在谓语动词前,作状语;泰语则相反,一般要放在谓语动词后,作补语。
中泰介词相同之处的成因主要是二者的同源关系,差异的原因主要在于两种语言都跟其他语言接触,受到了其他语言的影响。
希望本文的研究成果能为泰国的中文学习者提供借鉴,并为对外汉语介词教学提供帮助。
老师,我很想看这本书,我们正在写毕业论文,涉及到语法和词语,希望您给我们一些帮助,谢谢
回复删除请问,你是不是想看我写的这篇论文啊?你可以在乌大人文学院图书馆借的!免费提供给你们参照的哦!
删除老师好,请问这篇论文是泰语版还是汉语版的呢?
回复删除