ชื่อสารนิพนธ์ภาษาไทย : การศึกษาปัญหาการใช้คำกริยาวิเศษณ์ 一向 、一直、一贯 และ
始终 ของนักศึกษาไทย กรณีศึกษานักศึกษา ชั้นปีที่ 3,4 สาขาวิชาภาษาจีน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
ชื่อสารนิพนธ์ภาษาจีน : 泰国学生使用汉语副词“一向、一直、一贯 和 始终”的问题研究——以泰国乌汶大学中文系三四年级学生为例
ชื่อสารนิพนธ์ภาษาอังกฤษ : A study of the problems in using “yixiang, yizhi,
yiguan ” for Thai student
ชื่อผู้เขียน นางสาวณัฐธิณี เพชร์เอี่ยม
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ดร.ชิดหทัย ปุยะติ
อาจารย์เจ้าของภาษา 张迎春老师
-------------------------------------------------------
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่อง : การศึกษาปัญหาการใช้คำกริยาวิเศษณ์ 一向 、一直、一贯 และ 始终 ของ
นักศึกษาไทย กรณีศึกษานักศึกษา ชั้นปีที่ 3,4 สาขาวิชาภาษาจีน
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
คำสำคัญ : หลักไวยากรณ์ภาษาจีน , คำกริยาวิเศษณ์ , “一向”,“一直”,“一贯”, “始终”
“一向、一直、一贯 และ 始终” กริยาวิเศษณ์ทั้งสี่คำนี้เป็นคำที่มีความหมายคล้ายกัน บางครั้งสามารถใช้แทนกันได้ แต่ในบางครั้งไม่สามารถที่จะใช้แทนกันได้ เพราะบางประโยคหากใช้แทนกัน จะทำให้ความหมายของประโยคนั้นเปลี่ยนไป ดังนั้นงานวิจัยเล่มนี้จึงมุ่งศึกษาปัญหาการใช้คำกริยาวิเศษณ์ 一向、一直、一贯 และ 始终 ของนักศึกษาเพื่อวิเคราะห์ อธิบาย อภิปรายแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและสำรวจปัญหาของนักเรียนไทยที่ใช้คำกริยาวิเศษณ์เหล่านี้ โดยศึกษาแหล่งข้อมูลจากหนังสือภาษาจีน พจนานุกรม อินเตอร์เน็ตและจากการแจกแบบทดสอบ กรณีศึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 3,4 สาขาภาษาจีน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำนวน 58 คน ผลการศึกษาพบว่าคำกริยาวิเศษณ์จีนทั้งสี่มีโครงสร้างไวยากรณ์และความหมายเดียวกัน แต่วิธีใช้แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง
นักศึกษาไทย กรณีศึกษานักศึกษา ชั้นปีที่ 3,4 สาขาวิชาภาษาจีน
คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
คำสำคัญ : หลักไวยากรณ์ภาษาจีน , คำกริยาวิเศษณ์ , “一向”,“一直”,“一贯”, “始终”
“一向、一直、一贯 และ 始终” กริยาวิเศษณ์ทั้งสี่คำนี้เป็นคำที่มีความหมายคล้ายกัน บางครั้งสามารถใช้แทนกันได้ แต่ในบางครั้งไม่สามารถที่จะใช้แทนกันได้ เพราะบางประโยคหากใช้แทนกัน จะทำให้ความหมายของประโยคนั้นเปลี่ยนไป ดังนั้นงานวิจัยเล่มนี้จึงมุ่งศึกษาปัญหาการใช้คำกริยาวิเศษณ์ 一向、一直、一贯 และ 始终 ของนักศึกษาเพื่อวิเคราะห์ อธิบาย อภิปรายแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นและสำรวจปัญหาของนักเรียนไทยที่ใช้คำกริยาวิเศษณ์เหล่านี้ โดยศึกษาแหล่งข้อมูลจากหนังสือภาษาจีน พจนานุกรม อินเตอร์เน็ตและจากการแจกแบบทดสอบ กรณีศึกษานักศึกษาชั้นปีที่ 3,4 สาขาภาษาจีน คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี จำนวน 58 คน ผลการศึกษาพบว่าคำกริยาวิเศษณ์จีนทั้งสี่มีโครงสร้างไวยากรณ์และความหมายเดียวกัน แต่วิธีใช้แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง
一向、一直、一贯 และ 始终
จะวางไว้หน้าคำกริยาและคุณศัพท์ ต่างก็มีความหมายที่คล้ายกันซึ่งแปลว่า “ตลอด , โดยตลอด”
แต่เมื่อศึกษาอย่างถ่องแท้แล้ว ทำให้ทราบว่าคำกริยาวิเศษณ์ทั้งสี่คำนี้มีความหมายและวิธีการใช้แตกต่างกัน กล่าวคือ “一向”จะใช้ในประโยคที่แสดงความคิด,ท่าที ; “一直”ใช้ในประโยคที่มุ่งเน้นกาลเวลา
การกระทำตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันเป็นเช่นนี้โดยตลอด ; “一贯”ใช้ในประโยคที่ได้เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ไม่หยุดหยุดชะงัก ; ส่วน “始终”ใช้ในประโยคที่การกระทำเกิดขึ้นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ไม่สามารถใช้กับเรื่องอนาคตได้ เนื่องจากคำกริยาวิเศษณ์จีนทั้งสี่คำนี้มีความแตกต่างในการใช้ จึงทำให้นักเรียนไทยเกิดข้อผิดพลาดในการใช้คำกริยาวิเศษณ์
ผลจากการศึกษาวิจัยพบว่า, คำกริยาวิเศษณ์ที่นักศึกษาไทยใช้ผิดสูงสุดคือ“始终”,คิดเป็นร้อยละ 82.61% ตามด้วย “一贯”,คิดเป็นร้อยละ 56.52%, “一直”,คิดเป็นร้อยละ 39.13%, และที่นักศึกษาไทยใช้ผิดต่ำสุดคือ“一向”,คิดเป็นร้อยละ 21.74% แสดงให้เห็นว่าการใช้คำกริยาวิเศษณ์จีนของนักเรียนไทยยังสับสนและไม่เข้าใจ, ก่อให้เกิดข้อผิดพลาดในการใช้คำกริยาวิเศษณ์เหล่านี้
ดังนั้น, ผู้เขียนหวังว่างานวิจัยเล่มนี้จะสามารถนำมาพัฒนาการเรียนการสอนไวยากรณ์จีน เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้คำกริยาวิเศษณ์เหล่านี้ได้อย่างถูกต้อง
ผลจากการศึกษาวิจัยพบว่า, คำกริยาวิเศษณ์ที่นักศึกษาไทยใช้ผิดสูงสุดคือ“始终”,คิดเป็นร้อยละ 82.61% ตามด้วย “一贯”,คิดเป็นร้อยละ 56.52%, “一直”,คิดเป็นร้อยละ 39.13%, และที่นักศึกษาไทยใช้ผิดต่ำสุดคือ“一向”,คิดเป็นร้อยละ 21.74% แสดงให้เห็นว่าการใช้คำกริยาวิเศษณ์จีนของนักเรียนไทยยังสับสนและไม่เข้าใจ, ก่อให้เกิดข้อผิดพลาดในการใช้คำกริยาวิเศษณ์เหล่านี้
ดังนั้น, ผู้เขียนหวังว่างานวิจัยเล่มนี้จะสามารถนำมาพัฒนาการเรียนการสอนไวยากรณ์จีน เพื่อให้นักศึกษาสามารถใช้คำกริยาวิเศษณ์เหล่านี้ได้อย่างถูกต้อง
摘要
题目 : 泰国学生使用汉语副词“一向、一直、一贯 和 始终”的问题研究
——以泰国乌汶大学中文系三四年级学生为例
关建词 : 汉语语法、 副词、 一向、
一直、一贯、 始终
“一向、一直、一贯 和 始终”四个汉语副词意义相同,有时可以互换,
但有时不可以,因为在某些句子中如果互换,会使句子意思发生变化。因此本文将对汉语副词“一向、一直、一贯 和 始终”的用法进行分析,并探讨泰国学生使用这些副词的情况与问题。本研究的资料主要来自中文书、词典和网络。并基于以上资料设计调查问卷,调查对象为泰国乌汶大学中文系三四年级学生。研究发现,以上四个汉语副词都有相同的语法结构与意义,但是在用法上却存在着一些差别。
“一向、一直、一贯 和 始终”在句子中都放在动词或形容词的前面,也都表示“永远”的意思。但是如果再进一步深入分析,我们就会发现四个汉语副词却有着不同的用法,即 “一向”用于想法、态度 ;“一直”用来强调时间,表示动作或状态从过去持续到现在 ;“一贯”用来表示行为不断发生 ;“始终”表示动作或状态从过去持续到现在,不可以用于将来。由于以上四个汉语副词在用法上存在着一些差别,泰国学生使用时难免发生错误。调查结果显示,泰国学生错误率最高的是“始终”,占82.61%, 其次为“一贯”,占56.52 %,“一直” 占39.13% , 错误率最低“一向”,占21.74 %。 由此可见,泰国学生对以上四个汉语副词的用法了解得不够深入,以致他们使用这些副词时容易发生错误。
因此,笔者希望本研究果能对汉语语法教学的发展起到促进作用,使学生能够正确地使用这些副词。
“一向、一直、一贯 和 始终”四个汉语副词意义相同,有时可以互换,
但有时不可以,因为在某些句子中如果互换,会使句子意思发生变化。因此本文将对汉语副词“一向、一直、一贯 和 始终”的用法进行分析,并探讨泰国学生使用这些副词的情况与问题。本研究的资料主要来自中文书、词典和网络。并基于以上资料设计调查问卷,调查对象为泰国乌汶大学中文系三四年级学生。研究发现,以上四个汉语副词都有相同的语法结构与意义,但是在用法上却存在着一些差别。
“一向、一直、一贯 和 始终”在句子中都放在动词或形容词的前面,也都表示“永远”的意思。但是如果再进一步深入分析,我们就会发现四个汉语副词却有着不同的用法,即 “一向”用于想法、态度 ;“一直”用来强调时间,表示动作或状态从过去持续到现在 ;“一贯”用来表示行为不断发生 ;“始终”表示动作或状态从过去持续到现在,不可以用于将来。由于以上四个汉语副词在用法上存在着一些差别,泰国学生使用时难免发生错误。调查结果显示,泰国学生错误率最高的是“始终”,占82.61%, 其次为“一贯”,占56.52 %,“一直” 占39.13% , 错误率最低“一向”,占21.74 %。 由此可见,泰国学生对以上四个汉语副词的用法了解得不够深入,以致他们使用这些副词时容易发生错误。
因此,笔者希望本研究果能对汉语语法教学的发展起到促进作用,使学生能够正确地使用这些副词。
ไม่ผ่านนะ
回复删除